ประเภทสินค้าที่ให้บริการ ขนส่ง
1. สินค้ากลุ่มอาหาร และเครื่องดื่ม ได้แก่ วัตถุดิบสำหรับผลิตอาหาร , อาหารสำเร็จรูป , อาหารแห้งทุกชนิด ที่มีการบรรจุ
ลงในบรรจุภัณฑ์ อย่างมิดชิด เป็นลักษณะทึบห่อ หรือ แพ็คบรรจุเป็นกล่องเรียบร้อยแล้ว
2. สินค้ากลุ่มอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าไฟฟ้าทุกชนิด
3. สินค้ากลุ่มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิตส์
4. สินค้ากลุ่มอุปกรณ์ออฟฟิต-สำนักงาน
5. สินค้ากลุ่มเหล็กและวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง
6. สินค้ากลุ่มอุปโภคบริโภคใช้ในครัวเรือน
7. สินค้ากลุ่มผลิตภัณฑ์จากยางพารา
8. สินค้ากลุ่มเครื่องจักร
9. สินค้ากลุ่มบรรจุภัณฑ์
ประเภทสินค้าที่ไม่รับบริการขนส่ง
1.สินค้าแช่เย็น แช่แข็ง อาหารสด
2.สินค้าผิดกฎหมายทุกประเภท หรือสินค้าเลี่ยงภาษี
3.สิ่งเสพติดทุกประเภท
4.วัตถุลามกหรือผิดศีลธรรมทุกประเภท
5.สิ่งมีชีวิต ชิ้นส่วน ซากสัตว์
6.วัตถุไวไฟ รวมถึงสินค้าที่อาจทำให้เกิดอัตรายระหว่างเดินทางขนส่ง
คำนวณน้ำหนัก CBM อย่างไร
น้ำหนักสินค้าติอหน่วย X จำนวนสินค้าทั้งหมด = น้ำหนักทั้งหมด
(กว้างxยาวxสูง (ซม)) )x จำนวณสินค้าทั้งหมด = จำนวนลูกบาศก์เมตรทั้งหมด (CBM)
รถบรรทุกสามารถรับน้ำหนักสูงสุดได้ที่เท่าไร
รถบรรทุกสามารถน้ำหนักสูงสุดที่บรรทุกได้ดังนี้
• รถบรรทุก 6 ล้อ สามารถบรรทุกน้ำหนักได้ไม่เกิน 6 ตัน
• รถบรรทุก 10 ล้อ สามารถบรรทุกน้ำหนักได้ไม่เกิน 12 ตัน
• รถบรรทุก 18 ล้อ สามารถบรรทุกน้ำหนักได้ไม่เกิน 30 ตัน
** สำหรับปริมาตรความจุของรถแต่ละคันจะไม่เท่ากัน จึงควรตรวจสอบความกว้าง ยาว และสูงเพื่อให้แน่ใจว่าสามารถบรรจุสินค้าทั้งหมดได้
ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวนราคาค่าขนส่งมีอะไรบ้าง
1. ขนาดรถบรรทุก
2. ประเภทสินค้า และ บรรจุภัฑณ์
3. จำนวนสินค้า
4. น้ำหนักสินค้า (รวมบรรจุภัฑณ์)
5. มูลค่าสินค้า กรณีสินค้าประเภทเครื่องจักร , เครื่องมือแพทย์ต้องระบุราคาสินค้าทุกครั้ง
6. สถานที่ต้นทาง-ปลายทาง ชื่อผู้ติดต่อ หมายเลขโทรศัพท์ แนบแผนที่
7. กำหนดวัน/เวลาที่ส่งมอบ
8. เงื่อนไขพิเศษ เช่น ต้องการพนักงานยกสินค้า , มี เอกสาร Invoice พร้อมส่งของ , ต้องการเพิ่มจุดแวะ
ข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้องเช่น
- เส้นทางและสภาพถนนดินลูกรังเปียกๆ ที่จะให้รถบรรทุกเข้าไปรับสินค้า รถใหญ่สามารถเข้าได้ไหม
- ระยะเวลาการขึ้นสินค้า (บางงานต้องรอนานเป็นวัน) ทางเราจะมีการรับงานในวันถัดๆไป ซึ่งจะมีผลกระทบกับงานถัดไป